คดีอาญา

คดีอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา

ภาค 1 บทบัญญัติทั่วไป

ลักษณะ 1 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดทั่วไป

ลักษณะ 2 บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ

มาตรา 102 ความผิดลหุโทษ  ความผิดลหุโทษคือ ความผิดซึ่งต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ เช่นว่านี้มาด้วยกัน

ภาค 2 ความผิด

ลักษณะ 1 ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งรัฐอาณาจักร

หมวด 1 ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

หมวด 2 ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร

หมวด 3 ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร

หมวด 4 ความผิดต่อสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ

ลักษณะ 1 / 1 ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย

มาตรา 135/1 ก่อการร้าย

ลักษณะ 2 ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง

หมวด 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงาน

มาตรา 136 ดูหมิ่นเจ้าพนักงาน

มาตรา 137 แจ้งความเท็จ

มาตรา 138 ต่อสู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน

มาตรา 139 ข่มขืนใจเจ้าพนักงาน

มาตรา 140 การระวางโทษสูงขึ้น

มาตรา 141 ทำอันตรายตรา / เครื่องหมายที่เจ้าพนักงานทำไว้

มาตรา 142 ทำอันตรายทรัพย์สิน / เอกสารที่เจ้าพนักงานทำเพื่อเป็นพยานหลักฐาน

มาตรา 143 เป็นคนกลางเรียกสินบน

มาตรา 144  ให้สินบนเจ้าพนักงาน

มาตรา 145 แสดงตนและกระทำการเป็นเจ้าพนักงาน

มาตรา 146  สวมหรือประดับเครื่องแบบ เครื่องหมาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์โดยไม่มีสิทธิ์

หมวด 2ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ ราชการ

มาตรา 147 เจ้าพนักงานยักยอก

มาตรา 148 เจ้าพนักงานกรรโชก

มาตรา 149 เจ้าพนักงานรับสินบน

มาตรา 150 เรียกสินบนก่อนเป็นเจ้าพนักงาน

ลักษณะ 3 ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม

หมวด 1 ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม

หมวด 2 ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ ในการยุติธรรม

ลักษณะ 4 ความผิดเกี่ยวกับศาสนา

ลักษณะ 5 ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน

มาตรา 209  อั้งยี่

มาตรา 210 ซ่องโจร

มาตรา 211  เข้าประชุมอั้งยี่หรือซ่องโจร

ลักษณะ 6 ความคิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดอันตรายต่อประชาชน

มาตรา 217 วางเพลิงกรณีธรรมดา

มาตรา 218 วางเพลิงกรณีพิเศษ

มาตรา 219 เตรียมการวางเพลิง

มาตรา 220 ทำให้เพลิงไหม้วัตถุ จนน่าเป็นอันตราย

มาตรา 225 ประมาททำให้เกิดเพลิงไหม้

มาตรา 226 ทำอันตรายต่อสิ่งสาธารณูปโภค

มาตรา 227 ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพโยธา

ลักษณะ 7 ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง

หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา

มาตรา 240 ปลอมเงินตรา

มาตรา 241 แปลงเงินตรา

มาตรา 242 ทำให้น้ำหนักเหรียญกษาปณ์ลดลง

มาตรา 243 นำเข้าเงินตราปลอมแปลงเข้าในราชอาณาจักร

มาตรา 244  มีเงินตราปลอมแปลงเพื่อนำออกใช้

มาตรา 245 ขืนนำเงินตราปลอมแปลงออกใช้

ลักษณะ 8 ความผิดเกี่ยวกับการค้า

ลักษณะ9 ความผิดเกี่ยวกับเพศ

ลักษณะ 10 ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย

ลักษณะ 11 ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง

ลักษณะ 12 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์

ภาค 3 ลหุโทษ

ระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้วยการกำหนดจำนวนชั่วโมง ที่ถือเป็นการทำงาน 1 วัน

ต้องการ รับประกันตัวผู้ต้องหา หรือ เช่าหลักทรัพย์ประกันตัว โทร 081 189 5861

2 thoughts on “คดีอาญา”

  1. ในความผิดที่ว่า “ลักษณะ 1 ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งรัฐอาณาจักร” มีตัวอย่างความผิดเกี่ยวกับอะไรบ้าง ลองยกตัวอย่างมาให้ได้เห็นหน่อย นึกภาพไม่ออก จะได้ระวังตัวไม่ทำความผิดเหล่านี้

  2. คดีอาญาที่เขาว่ากันไม่มีกฎหมายบัญญัติไว้เราก็ไม่มีความผิดหรือกฎหมายใหม่ที่ออกมาหลังกฎหมายเก่า หากเป็นคุณต่อตัวจำเลย สามารถใช้ได้ แต่หากเป็นโทษต่อตัวจำเลยให้ใช้กฎหมายเก่า ซึ่งเป็นคุณต่อตัวจำเลยมากกว่า แบบนี้มันจะมีผลดีกับเราในฐานะตัวจำเลยหรือผู้ต้องหาอย่างไรกันบ้าง หรือถ้าเป็นที่สงสัยก็ยกประโยชน์ให้แก่จำเลยนั่นคือจำเลยไม่มีความผิด หมายความว่าในคดีอาญานั้นหากความผิดเราไม่ชัดเจนชัดแจ้งจริงๆจะเอาผิดกับเราไม่ได้ใช่หรือเปล่าก็คือเอาผิดกันได้ไม่ใช่ง่ายๆแต่ก็มีความผิดแล้วก็มีบทลงโทษตามมาเช่น ถูกกักขัง จำคุก แบบนั้นใช่ไหม ที่ว่าต่างจากคดีแพ่ง คดีแพ่งเป็นคดีเกี่ยวกับเงินทอง ตามชื่อมันหรือเปล่า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *