เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับอนาจาร คืออะไร การกระทำแค่ไหนถึงจะเรียกได้ว่า อนาจาร ตามกฎหมาย จะได้ไม่ต้องทำผิดกฎหมายโดยไม่ได้ตั้งใจ จนต้อง เช่าหลักทรัพย์ประกันผู้ต้องหาให้หมดเงินหมดทอง กว่าจะเช่าหลักทรัพย์ ได้ เหนื่อยใจ กฎหมายกำหนดความผิดฐานอนาจารไว้ว่า การกระทำใดที่ควรขายหน้าต่อหน้าธารกำนัล โดยการเปลือยหรือเผยร่างกาย หรือทำการลามกอย่างอื่น โดยไม่มีโทษจำคุกแต่อย่างใด มีแต่เพียงโทษปรับไม่เกิน 500 บาท คืออนาจารยังไงก็เสียไม่เกิน 500 บาทนั่นเอง กฎหมายบอกว่า แม้ตัว ผู้กระทำเองไม่ขายหน้า แต่ถ้าควรขายหน้าก็ถือว่าเป็นคดีอนาจารแล้ว ส่วนจะมีความผิดหรือไม่อย่างไร จนต้องประกันผู้ต้องหาคดีอนาจารนั้น ก็ต้องดูเป็นกรณี ๆไป อาทิเช่น การแก้ผ้าเพื่อถ่ายทำโฆษณากลางที่สาธารณะชน เอามาเปรียบเทียบกับการวิ่งแก้ผ้าเพราะตกใจหนีไฟไหม้ตึกขณะกำลังอาบน้ำไม่ได้ จะเห็นว่า กรณีแรกผิดฐานอนาจาร ต้องประกันตัว ทำการหาหลักประกันส่วนกรณีหลังไม่ผิด เพราะขาดเจตนา (คือไม่ได้ตั้งใจ) กรณีนี้ ไม่ต้องประกัน
ในครั้งอดีตตามแม่น้ำลำคลอง ซึ่งสมัยโน้นการปะปายังไม่แพร่หลายเหมือนในสมัยนี้ เรื่องการอาบน้ำในที่สาธารณะเช่น ชาวบ้านที่อาบน้ำในลำคลองตามบ้านนอกที่อยู่ติดแม่น้ำ ไม่ได้มีเจตนา ไม่ถือว่าอนาจาร แต่ในปัจจุบัน การอาบน้ำควรอาบในห้องน้ำเท่านั้น เพราะว่าไม่ใช่สมัยก่อนแล้ว ไม่งั้นคุณอาจต้องไปโรงพัก ต้องตกเป็นจำเลยเพราะผิดฐานในคดีอนาจารและต้องหาหลักประกัน บางอย่างการเปลือยกาย เมืองนอก อาจไม่ผิดเช่นการเดินแฟชั่นโนบาร์ เดินแล้วเสื้อหลุดเห็นโนตม ไม่มีอะไร แต่เมืองไทย จะมาเปลือยกาย (เช่น เดินแฟชั่นอย่างที่ว่า) คงไม่เหมาะสมเพราะขัดกับหลักวัฒนธรรมของไทย เราอยู่ในประเทศไทยก็ควรเคารพ ไม่อยากให้มา หา เช่าหลักทรัพย์ประกันตัว คดีอนาจาร แบบนี้
จริงๆแล้วกฏหมายบางส่วนออกมาจากจารีตประเพณีของแต่ละท้องถิ่นแต่ละพื้นที่ ซึ่งอาจจะไม่เหมือนกัน กฏหมายข้อแปลกๆ บางพื้นที่ ต่างประเทศ เล่าให้ฟังอาจจะตลกขบขันเพราะว่ามันมีแบบนี้กันด้วยหรือ ตอนนี้เราเป็นเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยเล่าสู่กันฟัง จะได้ไม่เครียด