ประมวลกฎหมายอาญา มีอะไรบ้าง

ประมวลกฎหมายอาญา

สารบาญ
ประมวลกฎหมายอาญา
ภาค ๑ บทบัญญัติทั่วไป                                             มาตรา
ลักษณะ ๑  บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดทั่วไป
หมวด ๑ บทนิยาม                                                          
หมวด ๒ การใช้กฎหมายอาญา                                          ๒-๑๗
หมวด ๓ โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย
ส่วนที่ ๑ โทษ                                                 ๑๘-๓๘
ส่วนที่ ๒ วิธีการเพื่อความปลอดภัย                         ๓๙-๕๐
ส่วนที่ ๓ วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ       ๕๑-๕๘
หมวด ๔ ความรับผิดในทางอาญา                                     ๕๙-๗๙
หมวด ๕ การพยายามกระทำความผิด                                 ๘๐-๘๒
หมวด ๖ ตัวการและผู้สนับสนุน                                        ๘๓-๘๙
หมวด ๗ การกระทำความผิดหลายบทหรือหลายกระทง             ๙๐-๙๑
หมวด ๘ การกระทำความผิดอีก                                       ๙๒-๙๔
หมวด ๙ อายุความ                                                    ๙๕-๑๐๑

ลักษณะ ๒  บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ                                   ๑๐๒-๑๐๖
ภาค ๒ ความผิด
ลักษณะ ๑  ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร
หมวด ๑ ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท
และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์                       ๑๐๗-๑๑๒
หมวด ๒ ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายใน
ราชอาณาจักร                                             ๑๑๓-๑๑๘
หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอก
ราชอาณาจักร                                             ๑๑๙-๑๒๙

หมวด ๔ ความผิดต่อสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ               ๑๓๐-๑๓๕
ลักษณะ ๑/๑  ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย[๒]                         ๑๓๕/๑-๑๓๕/๔
ลักษณะ ๒  ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
หมวด ๑ ความผิดต่อเจ้าพนักงาน                                  ๑๓๖-๑๔๖
หมวด ๒ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ                      ๑๔๗-๑๖๖

ลักษณะ ๓  ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม
หมวด ๑ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม                 ๑๖๗-๑๙๙
หมวด ๒ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม                ๒๐๐-๒๐๕

ลักษณะ ๔  ความผิดเกี่ยวกับศาสนา                                               ๒๐๖-๒๐๘
ลักษณะ ๕  ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน                         ๒๐๙-๒๑๖
ลักษณะ ๖  ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน             ๒๑๗-๒๓๙
ลักษณะ ๗  ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา                                   ๒๔๐-๒๔๙
หมวด ๒ ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา แสตมป์และตั๋ว                 ๒๕๐-๒๖๓
หมวด ๓ ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร                                  ๒๖๔-๒๖๙
หมวด ๔ ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์              ๒๖๙/๑-๒๖๙/๗
หมวด ๕ ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง                     ๒๖๙/๘-๒๖๙/๑๕
ลักษณะ ๘  ความผิดเกี่ยวกับการค้า                                              ๒๗๐-๒๗๕
ลักษณะ ๙  ความผิดเกี่ยวกับเพศ                                                 ๒๗๖-๒๘๗
ลักษณะ ๑๐ ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
หมวด ๑ ความผิดต่อชีวิต                                            ๒๘๘-๒๙๔
หมวด ๒ ความผิดต่อร่างกาย                                        ๒๙๕-๓๐๐
หมวด ๓ ความผิดฐานทำให้แท้งลูก                                  ๓๐๑-๓๐๕
หมวด ๔ ความผิดฐานทอดทิ้งเด็ก คนป่วยเจ็บหรือคนชรา        ๓๐๖-๓๐๘
ลักษณะ ๑๑ ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง
หมวด ๑ ความผิดต่อเสรีภาพ                                        ๓๐๙-๓๒๑
หมวด ๒ ความผิดฐานเปิดเผยความลับ                             ๓๒๒-๓๒๕
หมวด ๓ ความผิดฐานหมิ่นประมาท                                 ๓๒๖-๓๓๓
ลักษณะ ๑๒ ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
หมวด ๑ ความผิดฐานลักทรัพย์และวิ่งราวทรัพย์                   ๓๓๔-๓๓๖
หมวด ๒ ความผิดฐานกรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์
และปล้นทรัพย์                                             ๓๓๗-๓๔๐
หมวด ๓ ความผิดฐานฉ้อโกง                                        ๓๔๑-๓๔๘
หมวด ๔ ความผิดฐานโกงเจ้าหนี้                                    ๓๔๙-๓๕๑
หมวด ๕ ความผิดฐานยักยอก                                        ๓๕๒-๓๕๖
หมวด ๖ ความผิดฐานรับของโจร                                           ๓๕๗
หมวด ๗ ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์                              ๓๕๘-๓๖๑
หมวด ๘ ความผิดฐานบุกรุก                                         ๓๖๒-๓๖๖

ภาค ๓  ลหุโทษ                                                                              ๓๖๗-๓๙๘

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *