มาตรา ๑๓๗ ผู้ใดแจ้งข้อความอันเป็นเท็จแก่เจ้าพนักงาน ซึ่งอาจทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
แปล
ในเรื่องการแจ้งความนั้น ถ้าผู้ที่แจ้งความแจ้งความเท็จจะทำให้เกิดความวุ่นวาย เพราะว่ามีผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากการแจ้งความนั้นเช่นอาจต้องตกเป็นผู้ต้องหา ดังนั้นในทางกฎหมายจึงควรที่จะมีการลงโทษ ผู้ที่แจ้งความเท็จ เพื่อทำให้สังคมดำรงความยุติธรรมอยู่ได้ ป้องกันไม่ให้เกิดการกันแกล้งกัน โดยไม่คิดถึงคนอื่น เนื่องจากโลกมนุษย์ใบนี้มีคนดีและคนไม่ดีอยู่ปะปนกันไป จึงต้องมีมาตรการทางกฎหมายเข้ามาดูแล
การแจ้งความนั้น แจ้งความต่อเจ้าพนักงาน เพื่อให้ ดูว่าเราถูกริดรอนสิทธิ์อย่างไรหรือเป็นผู้เดือดร้อนเสียหายในเรื่องใดบ้าง จะได้เรียกตัวผู้กระทำความผิด มาสอบถามข้อมูลหรือให้ปากคำ
มาตรา ๑๓๖ ผู้ใดดูหมิ่นเจ้าพนักงานซึ่งกระทำการตามหน้าที่ หรือเพราะได้กระทำการตามหน้าที่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
แปล
ปกติแล้วการดูหมิ่น หมายถึงการดูหมิ่นซึ่งหน้า ในมาตรานี้เป็นการดูหมิ่นเจ้าพนักงาน ซึ่งตามกฎหมายเจ้าพนักงานก็มีนิยามเอาไว้ว่าคือใครบ้าง จึงจะเข้าองค์ประกอบความผิดตามกฎหมายนี้ ดังนั้นการที่จะไม่ได้ใช้ว่าเป็นการดูหมิ่นเจ้าพนักงานหรือไม่ต้องเริ่มวิเคราะห์ก่อนว่ามีการดูหมิ่นก่อนหรือเปล่า และผู้ที่ถูกดูหมิ่นนั้นคือเจ้าพนักงานนั่นเอง
คดีพวกนี้มีอัตราโทษไม่ค่อยรุนแรงเพราะไม่ใช่คดีร้ายแรงเหมือนคดีฆ่าคนตาย หรือคดีทำร้ายร่างกายบาดเจ็บสาหัส หรือคดียาเสพติด หรือคดีเกี่ยวกับการวางเพลิงเผาทรัพย์ แบบนั้นจะมีความรุนแรงมากกว่าคดีหมิ่นประมาท
และคดีอาญายังแบ่งเป็นคดีอาญาความผิดอันยอมความได้ และคดีอาญาแผ่นดิน(ยอมความไม่ได้) ดังนั้นเมื่อมีคดีอาญาเกิดขึ้นกับตัวท่านไม่ต้องตกใจแต่ขอให้ปรึกษากับทนายความที่ไว้ใจและดำเนินการไปตามขั้นตอนทางกฎหมาย ทุกอย่างมีเพื่อประโยชน์สูงสุดของท่านเอง
ประมวลกฎหมายอาญา
สารบาญ
ประมวลกฎหมายอาญา
ภาค ๑ บทบัญญัติทั่วไป มาตรา
ลักษณะ ๑ บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดทั่วไป
หมวด ๑ บทนิยาม
หมวด ๒ การใช้กฎหมายอาญา ๒-๑๗
หมวด ๓ โทษและวิธีการเพื่อความปลอดภัย
ส่วนที่ ๑ โทษ ๑๘-๓๘
ส่วนที่ ๒ วิธีการเพื่อความปลอดภัย ๓๙-๕๐
ส่วนที่ ๓ วิธีเพิ่มโทษ ลดโทษ และการรอการลงโทษ ๕๑-๕๘
หมวด ๔ ความรับผิดในทางอาญา ๕๙-๗๙
หมวด ๕ การพยายามกระทำความผิด ๘๐-๘๒
หมวด ๖ ตัวการและผู้สนับสนุน ๘๓-๘๙
หมวด ๗ การกระทำความผิดหลายบทหรือหลายกระทง ๙๐-๙๑
หมวด ๘ การกระทำความผิดอีก ๙๒-๙๔
หมวด ๙ อายุความ ๙๕-๑๐๑
ลักษณะ ๒ บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ ๑๐๒-๑๐๖
ภาค ๒ ความผิด
ลักษณะ ๑ ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร
หมวด ๑ ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท
และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ๑๐๗-๑๑๒
หมวด ๒ ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายใน
ราชอาณาจักร ๑๑๓-๑๑๘
หมวด ๓ ความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายนอก
ราชอาณาจักร ๑๑๙-๑๒๙
หมวด ๔ ความผิดต่อสัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ ๑๓๐-๑๓๕
ลักษณะ ๑/๑ ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย[๒] ๑๓๕/๑-๑๓๕/๔
ลักษณะ ๒ ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง
หมวด ๑ ความผิดต่อเจ้าพนักงาน ๑๓๖-๑๔๖
หมวด ๒ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ๑๔๗-๑๖๖
ลักษณะ ๓ ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม
หมวด ๑ ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม ๑๖๗-๑๙๙
หมวด ๒ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม ๒๐๐-๒๐๕
ลักษณะ ๔ ความผิดเกี่ยวกับศาสนา ๒๐๖-๒๐๘
ลักษณะ ๕ ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน ๒๐๙-๒๑๖
ลักษณะ ๖ ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน ๒๑๗-๒๓๙
ลักษณะ ๗ ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา ๒๔๐-๒๔๙
หมวด ๒ ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา แสตมป์และตั๋ว ๒๕๐-๒๖๓
หมวด ๓ ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร ๒๖๔-๒๖๙
หมวด ๔ ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ๒๖๙/๑-๒๖๙/๗
หมวด ๕ ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง ๒๖๙/๘-๒๖๙/๑๕
ลักษณะ ๘ ความผิดเกี่ยวกับการค้า ๒๗๐-๒๗๕
ลักษณะ ๙ ความผิดเกี่ยวกับเพศ ๒๗๖-๒๘๗
ลักษณะ ๑๐ ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
หมวด ๑ ความผิดต่อชีวิต ๒๘๘-๒๙๔
หมวด ๒ ความผิดต่อร่างกาย ๒๙๕-๓๐๐
หมวด ๓ ความผิดฐานทำให้แท้งลูก ๓๐๑-๓๐๕
หมวด ๔ ความผิดฐานทอดทิ้งเด็ก คนป่วยเจ็บหรือคนชรา ๓๐๖-๓๐๘
ลักษณะ ๑๑ ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง
หมวด ๑ ความผิดต่อเสรีภาพ ๓๐๙-๓๒๑
หมวด ๒ ความผิดฐานเปิดเผยความลับ ๓๒๒-๓๒๕
หมวด ๓ ความผิดฐานหมิ่นประมาท ๓๒๖-๓๓๓
ลักษณะ ๑๒ ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
หมวด ๑ ความผิดฐานลักทรัพย์และวิ่งราวทรัพย์ ๓๓๔-๓๓๖
หมวด ๒ ความผิดฐานกรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์
และปล้นทรัพย์ ๓๓๗-๓๔๐
หมวด ๓ ความผิดฐานฉ้อโกง ๓๔๑-๓๔๘
หมวด ๔ ความผิดฐานโกงเจ้าหนี้ ๓๔๙-๓๕๑
หมวด ๕ ความผิดฐานยักยอก ๓๕๒-๓๕๖
หมวด ๖ ความผิดฐานรับของโจร ๓๕๗
หมวด ๗ ความผิดฐานทำให้เสียทรัพย์ ๓๕๘-๓๖๑
หมวด ๘ ความผิดฐานบุกรุก ๓๖๒-๓๖๖
ภาค ๓ ลหุโทษ ๓๖๗-๓๙๘
รับจ้างประกันผู้ต้องหา เช่าหลักทรัพย์ lind id : mamm57